Category Intergoods

‘อาหารจากพืช 2.0’  อนาคตของอาหารจากพืชที่โดนใจผู้บริโภค

ในขณะที่กระแสอาหารจากพืชกำลังมาแรง แต่หลายคนที่ได้ลองชิมมักไม่คุ้นเคยกับรสชาติแฝงและลักษณะของอาหารประเภทนี้ จึงทำให้เกิดอคติกับอาหารจากพืช ทางด้านผู้ผลิต นักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร และนักเทคโนโลยี ต่างพยายามหาทางแก้ไขปัญหานี้ โดยได้นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่น่าสนใจต่างๆ มาปรับใช้กับผลิตภัณฑ์จากพืชทั้งหลาย เพื่อให้มีรสชาติอร่อยและมีลักษณะทางประสาทสัมผัสใกล้เคียงกับอาหารที่มาจากสัตว์มากที่สุด หรือที่เราเรียกกันว่าเป็นอาหารจากพืช 2.0 (Plant-based 2.0) สำหรับบทความนี้ เราขอนำตัวอย่างผลิตภัณฑ์และวิธีการที่นำมาให้พัฒนาอาหารจากพืชนี้ที่น่าสนใจมาให้ผู้อ่านได้มองเห็นภาพมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างแนวทางเพื่อปรับปรุงลักษณะต่างๆ ของผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช 1. วิธีการปรับเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์นมจากพืชให้ใกล้เคียงนมวัว ผลิตภัณฑ์นมมีกราฟการละลายที่มีความเฉพาะตัว ซึ่งเป็นผลมาจากไขมันอิ่มตัวรูปแบบเฉพาะที่พบในนมจากสัตว์ สำหรับผลิตภัณฑ์จากพืชรูปแบบใหม่ๆ ทางทีมนักวิจัยได้ค้นพบการนำไขมันจากพืชหลากหลายชนิดมาผสมกัน โดยหนึ่งในนั้นคือมะพร้าว ซึ่งผลที่ได้คือไขมันที่มีโปรไฟล์การละลายและมีคุณสมบัติในการเคลือบทั่วทั้งปากที่คล้ายคลึงกับไขมันของนมจากสัตว์ บริษัทสตาร์ทอัปหลายแห่ง เลือกใช้การหมักที่มีความเที่ยงตรงเพื่อสร้างองค์ประกอบให้คล้ายกับผลิตภัณฑ์นม โดยการใช้จุลินทรีย์ที่ได้รับการปรับพันธุกรรมเพื่อผลิตเวย์และเคซีนซึ่งเป็นโปรตีนสำคัญในนมจากสัตว์ จึงทำให้ได้โปรตีนที่มีลักษณะเดียวกันกับในนมวัว ผลิตภัณฑ์ที่ได้จึงมีรสชาติคล้ายกับผลิตภัณฑ์นมจากสัตว์อย่างน่าอัศจรรย์ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีนี้ยังไม่พร้อมสำหรับการผลิตระดับอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของส่วนผสมที่ใช้หรือค่าใช้จ่ายที่สูง ทั้งนี้ บริษัทที่พัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังวางแผนทำการศึกษาถึงผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม เปรียบเทียบกับการใช้ส่วนผสมต่างๆ ที่ทำจากพืชเท่านั้น เทคโนโลยีได้รับการพัฒนาโดยบริษัทผู้ผลิตนมและผลิตภัณฑ์จากนมที่มีชื่อเสียง และผู้ที่มีโอกาสได้ทดลองชิมผลิตภัณฑ์นมจากพืชที่ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวอธิบายให้ฟังว่า…

เปิดเหตุผล ‘สตาร์บัคส์’ งดรับเงินสด คิกออฟสาขานำร่องในเมือง ย่านออฟฟิศ

หากผู้บริโภคสายคาเฟ่ และชื่นชอบการดื่มกาแฟแบรนด์ระดับโลกอย่าง “สตาร์บัคส์” เชื่อว่าจะได้สัมผัสการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ยิ่งช่วงโควิด-19 ระบาดหนัก ทางร้านปรับตัวด้วยการ “งดรับเงินสด” ลดการสัมผัส มองอีกมุมยังขานรับกระแสสังคมไร้เงินสดด้วย ทว่า การงดรับเงินสด กลายเป็นกลยุทธ์ที่ยังดำเนินการต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน แต่นำร่องเพียงบางสาขาเท่านั้น โดยเฉพาะสาขาในย่านใจกลางธุรกิจ(CBD) และสาขาที่ตั้งในอยู่ภายในอาคารสำนักงาน ซึ่งเต็มไปด้วยมนุษย์เงินเดือน สถานศึกษาชั้นนำ โรงพยาบาล เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีกำลังซื้อ ปี 2020 ผู้บริโภคกล่าวถึงกรณีร้านกาแฟสตาร์บัคส์งดรับเงินสดเป็นวงกว้าง โดยการชำระค่าสินค้าจะผ่าน Cashless system ไม่ว่าจะเป็นบัตรเครดิต E-wallet QR-code ต่างๆ ฯลฯ ทำให้พนักงานไม่ต้องสัมผัสเงิน โดยปัจจุบันสาขาที่เป็น Cashless store มีมากถึง 51 แห่งแล้ว จากการสอบถามพนักงานร้านสตาร์บัคส์ จะได้รับข้อมูลว่า นโยบายของทางร้านนั้น ต้องการมุ่งสู่สังคมไร้เงินสด…

Food Safety in Poultry Production

Food Safety in Poultry Production

Some chickens that enter the slaughtering sheds may carry bacterial pathogens in their intestines including Salmonella, Campylobacter, and Listeria monocytogenes which cause serious illness. The pathogens can enter processing plants on feathers, carcasses contaminated with faeces, and soil, then remain…

Listed banks see Q1 profits jump 14.4%

Listed banks see Q1 profits jump 14.4%

Of the 10 banks listed on the Stock Exchange of Thailand, CIMB Thai Bank, majority owned by the Malaysia-based CIMB Group, recorded the industry’s highest net profit growth rate in the quarter, rising 211% year-on-year to 1.06 billion baht, as…

More than just a mango

More than just a mango

The recent craze over mango sticky rice had Prime Minister Prayut Chan-o-cha mulling ways to harness Thailand’s cultural influence abroad, although it begs the question of how much the state understands soft power and whether it is committed enough to…

LONG COVID เจ็บ…แต่ไม่จบ – ภาวะลองโควิด อาการเรื้อรังที่ตามมาของคนเคยติดเชื้อโควิด-19

LONG COVID เจ็บ…แต่ไม่จบ

Long COVID คืออะไร?               การติดเชื้อโควิด-19 นับว่าเป็นโรคที่ส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพราะว่าหลังจากรักษาหายแล้ว แต่หลายคนยังรู้สึกเหมือนยังไม่หายดี เพราะว่าระหว่างการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเพื่อไปจับกับเซลล์โปรตีนของบางอวัยวะ ทำให้เกิดการอักเสบในร่างกาย เป็นผลให้อวัยวะนั้นๆ ได้รับความเสียหาย ส่งผลกระทบไปทั่วร่างกาย เช่น อาการปอดบวม หรือ เนื้อปอดถูกทำลาย โดยระดับความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับความรวดเร็วในรักษา และการกำจัดเชื้อโควิดในร่างกาย เราเรียกภาวะนี้ว่า “โควิดระยะยาว (Long COVID)” โดยกระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่า สามารถพบได้ถึง 30-50% สาเหตุหลักมาจาก เครียดสะสม หรือเป็นผลข้างเคียงของยาที่ใช้ เช่น ยาในกลุ่มสเตียรอยด์ โรคแฝง หรือบางรายอาจติดเชื้อโควิดซ้ำแต่คนละสายพันธุ์ Long COVID อาการเป็นอย่างไร? Long COVID เป็นภาวะหรืออาการที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโควิด-19 หลังจากได้รับเชื้อนาน 4 สัปดาห์ไปจนถึง 12 สัปดาห์ขึ้นไป อาการที่พบมีหลากหลายและแตกต่างกัน อาการที่พบบ่อยที่สุด มีตั้งแต่ไม่รุนแรงจนถึงทำให้ร่างกายทรุดโทรม และมีผลระยะยาวตั้งแต่หลายสัปดาห์จนถึงหลายเดือนหลังหายจากโควิด-19…

ปตท. ชี้แรงหนุนสหรัฐฯ-IEA ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบลดลง หวั่นจีนล็อกดาวน์นาน

ปตท. ชี้แรงหนุนสหรัฐฯ-IEA ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบลดลง หวั่นจีนล็อกดาวน์นาน

ทีมวิเคราะห์ตลาดต่างประเทศ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ระบุว่า ราคาน้ำมันดิบในสัปดาห์ล่าสุดปรับตัวลดลง หลังจากประธานาธิบดีสหรัฐฯ นาย Joe Biden ประกาศระบายน้ำมันดิบจากคลังสำรองน้ำมันเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Petroleum Reserve: SPR) ปริมาณรวม 180 ล้านบาร์เรล ในช่วง พ.ค.- ต.ค. 65 และ International Energy Agency (IEA) ประกาศประเทศสมาชิก (31 ประเทศ) ให้ความร่วมมือกับสหรัฐฯ โดยระบายน้ำมันจาก SPR เพิ่มอีก 60 ล้านบาร์เรล ภายใน 6 เดือน จากญี่ปุ่น 15 ล้านบาร์เรล และประเทศสมาชิกอื่นๆ รวม 45 ล้านบาร์เรล ตารางน้ำมันเฉลี่ยรายสัปดาห์ (ดอลลาร์ต่อบาร์เรล)…

LINE LOGO SVG